อาหารทำเอง, อาหารง่ายๆ, สูตรข้าวแกง, สูตรอาหาร อร่อยๆ, อาหารไทย, วิธีทำอาหาร อาหารไทยง่ายๆ





วันพุธที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2557

คิดอาหารทิพย์ กรดโพรพิโอนิก อิ่มเร็วไม่อ้วน

คิดอาหารทิพย์ กรดโพรพิโอนิก อิ่มเร็วไม่อ้วน

กินกล้วยดีต่อสุขภาพ ไม่เกี่ยวกับ กรดโพรพิโอนิก
จากงานวิจัยและค้นพบของนักวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยอิมพีเรียลคอลเลจแห่งลอนดอน สามารถคิดค้นส่วนผสมอาหารที่ช่วยให้รู้สึกอิ่มเร็วขึ้น และป้องกันการอ้วน

ในการค้นพบนี้ได้ทำการทดลองให้อาสาสมัครที่มีน้ำหนักเกินได้กิน ในการทดสอบหนแรกนี้ปรากฎว่าได้ผลดี และสามารถป้องกันน้ำหนักเกินได้ ซึ่งสารที่ใช้ทดลองและผสมลงไปก็คือ สารที่ได้จากเกลือของกรดโพรพิโอนิก (Propionic acid) ซึ่งสารนี้เมื่อร่างการรับแล้วมันจะไปกระตุ้นกระเพาะอาหารให้ขับฮอร์โมน ซึ่งจะส่งผลต่อสมองสั่งให้ระงับความหิวลงได้

ศาสตราจารย์แกรี ฟรอสท์ อาจารย์คณะแพทย์ กล่าวว่า "การศึกษากับกลุ่มเล็กๆ ได้แสดงให้เห็นอย่างสนับสนุน และกล่าวว่า การให้อาหารผสม อาจช่วยป้องกันน้ำหนักตัวในผู้ที่มีน้ำหนักเกินไม่ให้เพิ่มขึ้นอีกได้ คงจะต้องกินเป็นประจำจึงได้ผล"


มารู้จักกรดโพรพิโอนิก (propionic acid) กัน

กรดโพรพิโอนิก (propionic acid) หรืออาจเรียกว่า propanoic acid กรดอินทรีย์ที่พบในอาหาร ที่เกิดจากการหมัก (fermentation) เช่น การหมักเมล็ดโกโก้ เนยแข็ง เป็นต้น

กรดโพรพิโอนิก ใช้เป็นวัตถุเจือปนอาหาร (food additive) ที่มีหน้าที่เป็นสารกันเสีย (preservative) ใช้เป็นสารกันรา ป้องกันการเจริญของรา (mold) ในอาหาร

แล้วมีอาหารอะไรบ้างที่มีส่วนผสมของ กรดโพรพิโอนิก
อาหาร ปริมาณสูงสุดที่ให้ใช้ได้ (มิลลิกรัมต่อ 1 กิโลกรัม)

เว้นแต่ได้ระบุปริมาณเฉพาะ
น้ำตาลปีบ 2,000
โพรเซสชีส (processed cheese) 3,000
ผลิตภัณฑ์นม ยกเว้น นมจืดชนิดเหลว นมเปรี้ยวไม่ปรุงแต่งครีมพาสเจอร์ไรส์ ครีมสเตอริไลส์ ครีมยูเอชที วิปปิ้งครีม และครีมไขมันต่ำ ย
กเว้นโพรเซสชีส
ปริมาณที่เหมาะสม
ผลิตภัณฑ์ประเภทน้ำผสมน้ำมัน (อิมัลชัน) เช่น เนยเทียม มินารีน
รวมทั้งขนมหวานทำนองนี้
ปริมาณที่เหมาะสม
ไอศกรีม ปริมาณที่เหมาะสม
ผลไม้ที่ผ่านกรรมวิธี เช่น ผลไม้แห้ง ผลไม้ผ่านกรรมวิธีแคนนิ่ง (canning) ขนมหวานจากผลไม้ เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม
พืชผัก สาหร่าย ถั่วเปลือกแข็งและเมล็ดพืชต่าง ๆ ที่ผ่านกรรมวิธี
เช่น พืชผักแห้ง พืชผักที่ผ่านกรรมวิธีแคนนิ่ง เป็นต้น ยกเว้นกรรม
วิธีเยือกแข็ง (freezing) และหมักดอง (fermentation)
ปริมาณที่เหมาะสม
ผลิตภัณฑ์จากธัญพืช ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ธัญพืชอาหารเช้า ขนมหวาน
จากธัญพืช แป้งสำหรับชุบอาหารทอด และผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง
ปริมาณที่เหมาะสม
ผลิตภัณฑ์ขนมอบ เช่น ขนมปัง ขนมเค้ก คุกกี้ ขนมพาย เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม
ผลิตภัณฑ์ขนมหวาน เช่น ลูกกวาด ลูกอมช็อกโกแลต (chocolate) หมากฝรั่ง เป็นต้น ปริมาณที่เหมาะสม
ผลิตภัณฑ์เนื้อ ยกเว้นเนื้อสด ปริมาณที่เหมาะสม
สัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์สัตว์น้ำ ยกเว้นสัตว์น้ำสดและสัตว์น้ำเยือกแข็ง ปริมาณที่เหมาะสม
ผลิตภัณฑ์ไข่ ยกเว้นไข่สด ไข่เหลว และไข่เยือกแข็ง ปริมาณที่เหมาะสม
ผลิตภัณฑ์ประเภทซอส ซุป สลัด และผลิตภัณฑ์โปรตีนสกัด ปริมาณที่เหมาะสม
อาหารสำหรับผู้ที่ต้องการควบคุมน้ำหนักและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ปริมาณที่เหมาะสม
เครื่องดื่ม ยกเว้นน้ำผักผลไม้ น้ำแร่ธรรมชาติ ชา กาแฟ เครื่องดื่มสมุนไพรชนิดชงและเครื่องดื่มจากธัญพืช ปริมาณที่เหมาะสม

ที่มาข้อมูล http://www.foodnetworksolution.com/

กรดโพรริโอนิก มาจากใหน
กรดโพรพิโอนิกสามารถผลิตไดทั้งขบวนการทางเคมีและกระบวนการทางชีวภาพ ในการ
ผลิตเพื่อการค้านิยมผลิตโดยกระบวนการทางเคมีเนื่องจากได้ผลผลิตสูงตามความต้องการและมี
ระยะเวลาในการผลิตเร็วกว่ากระบวนการทางชีวภาพแต่กรดโพรพิโอนิกที่ผลิตได้มีกระบวนการ
ยุ่งยากเพราะมีสารก่อให้เกิดมลพิษในสิ่งแวดลอ้ มในช่วงการทา ให้บริสุทธ์ิดงัน้ันจึงมีการศึกษา
วิธีการผลิตทางชีวภาพเนื่องจากผลิตภัณฑ์ที่ได้ไม่มีความเป็นพิษและสามารถใชก้ บัอุตสาหกรรม
ประเภทอาหารได้ค่าใชจ้่ายในการผลิตไม่สูงนกั การผลิตกรดโพรพิโอนิกโดยกระบวนการทางชีวภาพ
นิยมใชเ้ช้ือแบคทีเรียในสกลุ Propionibacterium

การผลิตกรดโพรพิโอนิกทางชีวภาพมีข้อจำกัดเป็นผลมาจากการผลิตกรดโพรพิโอนิก จาก
กระบวนการหมักจะได้ผลิตภัณฑ์ในปริมาณ ที่น้อย เช่น การหมักแบบกะสามารถผลิตกรด
โพรพิโอนิกได้เพียงร้อยละ1-3 ซึ่งใช้เวลาในการหมัก 7-14 วัน(Schuppert และคณะ. 1992)จึงได้มี
การคิดหาวิธีเพื่อเพิ่มผลผลิตดว้ยวิธีต่างๆ เช่น การใชก้ ารตรึงเซลล(Yang ์ และคณะ. 1994 ;
Suwannakham และ Yang. 2005)การใช้ระบบการหมักแบบก่ึงกะ(Martinez-Campos และ Torre.
2002) การใช้ระบบการหมักแบบต่อเนื่องและการคดัเลือกอาหารที่เหมาะสมกบัการผลิตกรด
โพรพิโอนิก(Quesada-Chantoและคณะ. 1994)

กรดโพรพิโอนิกและเกลือของกรดโพรพิโอนิกเป็นกรดไขมันสายสั้นๆ อู่ยในกลุ่มของ
Aliphatic monocarboxylic acid กรดโพรพิโอนิกสามารถพบได้ตามธรรมชาติในอาหารประเภท
หมักดอง ในเหงือของคน Swiss cheese และในกระเพาะอาหารของสตัวเ์ค้ียวเอ้ืองกรดโพรพิโอนิก
สามารถละลายไดด้ีในน้า เอทานอล และอีเทอร์ส่วนเกลือโพรพิโอเนทสามารถละลายน้า ไดร้้อยละ
30 แต่ไม่ละลายในไขมนั (Lindและคณะ. 2005)

กรดโพรพิโอนิกเป็นกรดอินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์ใน
อาหารโดยเฉพาะในผลิตภัณฑ์เบเกอรี่(Himmi และคณะ. 2000) และอาหารสัตว์(Schuppert. 1992)
และนิยมใช้ในอุตสาหกรรมการการท าพลาสติกในรูปของ cellulose propionate (Barbirato และ
คณะ. 1997) ในอุตสาหกรรมน้า หอมในรูปของ ethyl propionate ซึ่งท าหน้าที่เป็ นตัวท าละลาย
(Czaczykและคณะ. 1995) นอกจากน้ียงัใชเ้ป็นสารยบัย้งัการเจริญเติบโตของเช้ือรา (Lindและคณะ
.2005)และเป็ นสารที่ช่วยเพิ่มกลิ่นรสของอาหาร(Yangและคณะ.1994)

การใช้ในอาหารนิยมใช้ในรูปของเกลือมากกว่ากรดโดยจะอยู่ในรูปของเกลือแคลเซียม
โซเดียม และโปแทสเซียม โดยเกลือโซเดียมจะละลายไดด้ีกวา่ เกลือแคลเซียม ดงัรูปที่2.1

สูตรทางวิทยาศาสตร์
CH3-CH2-COOH 
กรดโพรพิโอนิก

CH3-CH2-COONa 
โซเดียมโพรพิโอเนต

(CH3-CH2-COO)2Ca
 แคลเซียมโพรพิโอเนต

ที่มาข้อมูล: dric.nrct.go.th , http://www.foodnetworksolution.com/


Share:

0 comments:

แสดงความคิดเห็น

ป้ายกำกับ

คลังบทความของบล็อก

Recent Posts

Recent Posts Widget

ผู้สนับสนุน